เกณฑ์การตั้งชื่ออย่างที่คนไทยนิยมใช้กัน คือการนำเอาคติเทวดาประจำวันจากคัมภีร์มหาทักษา มาซ้อนทับด้วยพยัญชนะวรรค ตามหลักภาษาบาลี แล้วผนวกรวมเข้ากับหลักทักษาพยากรณ์ จากนั้นนำไปคำนวณกับเกณฑ์ทักษาพยากรณ์ ค
ฐิติพันธ์ พัฒนมงคล : เรื่องและภาพ 1 หากจะมีภูเขาสักลูกในประเทศไทยที่มีลักษณะเป็น “ภูเขาหลังโรงเรียน” คล้ายการ์ตูนเรื่องโดราเอมอน หนึ่งในนั้นต้องมีชื่อ “เขาโต๊ะกรัง” รวมอยู่ด้วย เขาโต๊ะกรังตั้งอยู่กลาง
หลักเกณฑ์การตั้งชื่อของคนไทยที่บรรดาพระสงฆ์เกจิอาจารย์ นักโหราศาสตร์ และหมอดูนิยมใช้กัน ก็มีที่มาจากหลักทักษาพยากรณ์นั่นเอง โดยนำเอาพยัญชนะวรรคของภาษาบาลี มาจัดจับเข้าคู่กับทิศ/เทวดาประจำวันทั้งแปด หร
“The Other เสียงของความหลากหลาย”“คนนอก” คือใคร ผู้ใดกำหนดความเป็น “คนอื่น”เราควรผลักไสหรือโอบกอดคนที่แตกต่างมาร่วมเรียนรู้และหาคำตอบ และสร้างบทบันทึกไว้ด้วยกัน ใน “ค่ายสารคดี” กับวาระ 2 ทศวรรษ “การสร้
หลักทักษาพยากรณ์ คือ บริวาร-อายุ-เดช-ศรี-มูละ-อุตสาหะ-มนตรี-กาลกิณี ยังถูกนำไปประยุกต์กับเรื่องราวสารพัดในชีวิตของคนไทย เช่นการเลือกวันให้เหมาะสมกับกิจกรรมในชีวิต และการใช้สีให้ “ถูกโฉลก” ซึ่งไม่ได้จำ
เราฟังดนตรีตอนไหนและแบบไหนกันบ้าง ถ้าระหว่างนั่งทำงาน เช่นเขียนหรือบรรณาธิการต้นฉบับ ผมจะเปิดเพลงที่คุ้นเคยจากแผ่นซีดีหรือมิกซ์เพลงที่ยูทูบจัดให้ คลอบรรยากาศ หลายครั้งแทบจะไม่รู้ว่าฟังเพลงไหนอยู่ จนเส
นอกจากเรื่องมหาทักษา อันเป็นตำราว่าด้วยเทวดาพระเคราะห์เข้ามาเสวยอายุและเข้ามาแทรกเป็นระยะๆ ตลอดทั้งชีวิตแล้ว โหราจารย์แต่โบราณยังดัดแปลงมาเป็นหลักเกณฑ์อีกอย่างหนึ่ง เรียกกันว่า “ทักษาพยากรณ์” หรือ “ภู
จาก “ตำรานุ่งผ้า ฉบับแม่แช่ม” ใน “สี่แผ่นดิน” ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ดังที่กล่าวมาแล้ว ถ้าจะ “ถอดรหัส” คำสอนของแม่แช่ม มารดาของคุณหญิงพลอย บทมาลย์บำรุง หมายความว่าสาวชาววังยุครัชกาลที่ ๕ พึงแต
เรื่องและภาพ : สุเจน กรรพฤทธิ์ เป็นครั้งแรกในชีวิต ที่คนเมืองหลวงได้พบกับภัยที่พวกเขาคิดว่า “ไกลตัว” ที่สุด แผ่นดินไหว (Earthquake) 13.20 น. – 28 มีนาคม 2568 รอยเลื่อนสะกาย รอยเลื่อน
ฐิติพันธ์ พัฒนมงคล : เรื่องและภาพ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2568 ประชาชนสองฝั่งแม่น้ำสาละวินได้ร่วมกันจัดกิจกรรมปกป้องแม่น้ำและคัดค้านโครงการสร้างเขื่อนเนื่องในวันสากลเพื่อปกป้องแม่น้ำ หรือ วันหยุดเขื่อนโ
เรื่อง : วรรณิดา มหากาฬภาพ : วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ช่วงปีที่ผ่านมากระแส “โสดโดยความสามารถ” ผ่านตามาให้ได้เห็นเกือบทุกแพลตฟอร์มออนไลน์ ประโยคนี้บ่งบอกถึงการเกิดสถานะโสดจากตัวเองที่แม้จ
เท่าที่พรรณนามาแล้ว จะเห็นว่าสีเสื้อผ้าประจำวันตามคติโบราณตามหลักฐาน ตั้งแต่สมัยต้นกรุงเทพฯ เช่น “สวัสดิรักษา” ของสุนทรภู่ มาจนถึงที่กล่าวไว้ในวรรณคดียุครัชกาลที่ ๕ รัชกาลที่ ๖ ก็ยังไม่ตรงกับสีประจำวั